วันจันทร์ที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2555

ตัวชี้วัด (KPI template) อาหารปลอดภัยประเมินระดับ CUP

 

KPI ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานอาหารปลอดภัยเพื่อคุ้มครองสุขภาพ

รายละเอียดตัวชี้วัด (KPI template) อาหารปลอดภัยประเมินระดับ CUP


1. คณะที่   

2. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่     2
การพัฒนาระบบเฝ้าระวังและควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
3. หัวข้อ/ประเด็น  
ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานอาหารปลอดภัยเพื่อคุ้มครองสุขภาพ                                            
4.รหัสตัวชี้วัด
0207
5.ชื่อตัวชี้วัด
ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานอาหารปลอดภัยเพื่อคุ้มครองสุขภาพ                                           
6. เกณฑ์
ตามรายละเอียดแนบท้าย
7.น้ำหนัก

8.ผลงาน

8.1 วิธีรายงาน
รอบ 6 เดือน ,9 เดือน, 12 เดือน
8.2 แหล่งข้อมูล
1.โรงพยาบาลขอนแก่น  โรงพยาบาลอำเภอ  และสาธารณสุขอำเภอ
   ทุกแห่งรับผิดชอบจัดเก็บข้อมูล
2.โรงพยาบาลขอนแก่นและโรงพยาบาลอำเภอทุกแห่งดำเนินการ   วิเคราะห์  ประมวลผลข้อมูลการดำเนินงาน ตามแบบรายงานในภาพรวมของอำเภอ    และนำส่งสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น
8.3 ผู้จัดเก็บข้อมูล
กลุ่มงานควบคุมโรคและกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคฯ
9.กลุ่มเป้าหมาย
- ตลาดสดประเภท ๑  
- ร้านอาหารแผงลอย และแผงจำหน่ายอาหาร
- อาหารสดและผลิตภัณฑ์อาหาร
10.การประมวลผลตัวชี้วัด
  (สูตรคำนวณ)
จำนวนร้านอาหารที่ผ่าน CFGT X 100
          จำนวนร้านอาหารทั้งหมด(ตามเป้าหมาย
จำนวนแผงลอยที่ผ่าน CFGT X 100
          จำนวนแผงลอยทั้งหมด (ตามเป้าหมาย)
 จำนวนตัวอย่างที่ตรวจพบสารปนเปื้อน X 100
     จำนวนตัวอย่างสารปนเปื้อนทั้งหมดที่ตรวจ
จำนวนตลาดที่ผ่านมาตรฐานตลาดสดน่าซื้อ X100
                 จำนวนตลาดทั้งหมด
11.เกณฑ์การให้คะแนน(milestone)
ขั้นตอนที่ 1
มีการจัดทำแผนบูรณาการอาหารปลอดภัยเพื่อคุ้มครองสุขภาพและลดอุบัติการณ์โรคอาหารเป็นพิษของอำเภอ   ประจำปีงบประมาณ 2555  โดยได้รับความเห็นชอบจากนายอำเภอหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย และจัดส่งให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น  ภายในวันที่ 31 มีนาคม  2555  
ขั้นตอนที่ 2
มีการดำเนินกิจกรรมตามแผนบูรณการอาหารปลอดภัยฯ เพื่อคุ้มครองสุขภาพและลดอุบัติการณ์โรคอาหารเป็นพิษของอำเภอ ประจำปีงบประมาณ 2555  
ขั้นตอนที่ 3
มีระบบเฝ้าระวังและมาตรการแก้ไขปัญหากรณีตรวจพบความไม่ปลอดภัยในอาหาร
ขั้นตอนที่ 4
มีจุดประสานงานและเครือข่ายการจัดการกรณีเกิดอุบัติการณ์ด้านความปลอดภัยอาหารแบบบูรณาการในระดับอำเภอ
ขั้นตอนที่ 5
มีผลการดำเนินงานตามแผนบูรณาการอาหารปลอดภัยเพื่อคุ้มครองสุขภาพและลดอุบัติการณ์โรคอาหารเป็นพิษของอำเภอ
12.ผู้รับผิดชอบ/ผู้ประสานงาน
12.1 ชื่อ-สกุล นางเชาวนี  จำปาทุม
        กลุ่มงานควบคุมโรค
       โทรศัพท์ 043 – 221125 ต่อ 156
     
ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น
โทรสาร 043 – 224037
E – mail  chawanee66@hotmail.com
12.2 ชื่อ – สกุล
        ภญ.กนกพร ธัญมณีสิน
       โทรศัพท์  043 – 221125 ต่อ 121
     
ตำแหน่ง เภสัชกรชำนาญการ
โทรสาร 043 – 224037
E – mail Thanmaneesin@hotmailcom



แบบรายงานการให้คะแนน การนิเทศติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานสาธารณสุข ระดับ CUP ปี 2555

คณะที่....................................................
กลุ่มงาน...................................................
CUP………………………………………  รอบที่...................วันที่.................เดือน..........................................................พ.ศ.2555
ชื่อผู้รายงาน..........................................................โทร.......................ชื่อผู้ประเมินผล.............................................................โทร.........................................
รหัส
ประเด็นสำคัญในการตรวจ
ตัวชี้วัด
เกณฑ์
เกณฑ์การประเมิน
เป้าหมาย
ผลงาน
อัตรา
คะแนน
ที่ได้
0207
ความปลอดภัยด้านอาหารจังหวัดขอนแก่น
ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหารเพื่อคุ้มครองสุขภาพ
ระดับความสำเร็จในการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหารเพื่อคุ้มครองสุขภาพ

คะแนน = 1
มีการจัดทำแผนบูรณาการอาหารปลอดภัยเพื่อคุ้มครองสุขภาพและลดอุบัติการณ์โรคอาหารเป็นพิษของอำเภอ ประจำปีงบประมาณ 2555 โดยได้รับความเห็นชอบจากนายอำเภอหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย และจัดส่งให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น ภายในวันที่31มกราคม 2555

คะแนน = 2
ผ่านเกณฑ์คะแนน =  1  และมีการดำเนินกิจกรรมตามแผนบูรณการอาหารปลอดภัยฯเพื่อคุ้มครองสุขภาพและลดอุบัติการณ์โรคอาหาร
เป็นพิษของอำเภอ   ประจำปีงบประมาณ 2555  
















แบบรายงานการให้คะแนน การนิเทศติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานสาธารณสุข ระดับ CUP ปี 2555

คณะที่....................................................
กลุ่มงาน...................................................
CUP………………………………………  รอบที่...................วันที่.................เดือน..........................................................พ.ศ.2555
ชื่อผู้รายงาน..........................................................โทร.......................ชื่อผู้ประเมินผล.............................................................โทร.........................................
รหัส
ประเด็นสำคัญในการตรวจ
ตัวชี้วัด
เกณฑ์
เกณฑ์การประเมิน
เป้าหมาย
ผลงาน
อัตรา
คะแนน
ที่ได้




คะแนน = 3
ผ่านเกณฑ์คะแนน =  2  มีระบบเฝ้าระวังและมาตรการแก้ไขปัญหากรณีตรวจพบความไม่ปลอดภัยในอาหาร

คะแนน = 4
ผ่านเกณฑ์คะแนน =  3 มีจุดประสานงานและเครือข่ายการจัดการกรณีเกิดอุบัติการณ์ด้านความปลอดภัยอาหารแบบบูรณาการในระดับอำเภอ

คะแนน = 5
ผ่านเกณฑ์คะแนน =  4  มีผลการดำเนินงานตามแผนบูรณาการอาหารปลอดภัยเพื่อคุ้มครองสุขภาพและลดอุบัติการณ์โรคอาหารเป็นพิษของอำเภอ
















แนวทางการประเมิน :

ระดับคะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน
แนวทางการประเมินผล

1
ขั้นตอนที่ 1
1.1   คณะกรรมการอาหารปลอดภัยระดับอำเภอประชุมพิจารณาผลการดำเนินงาน / ปัญหาที่เกี่ยวกับอาหารปลอดภัย รวมทั้งอุบัติการณ์จากการเกิดโรคอาหารเป็นพิษของอำเภอในช่วงที่ผ่านมา







1.2   อำเภอจัดทำแผนบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 เพื่อเฝ้าระวัง /ป้องกัน / แก้ไขปัญหา / ตอบสนอง และลดอุบัติการณ์การเกิดโรคอาหารเป็นพิษ


















1.3   แผนงานและโครงการเชิงพัฒนาด้านอาหารปลอดของอำเภอ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ได้รับความเห็นชอบจากนายอำเภอหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย และจัดส่งให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2555
ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่างๆ
@ เอกสาร/หลักฐานที่แสดงถึงการดำเนินงาน ดังนี้
î รายงานสรุปผล/บันทึกการประชุมทบทวนการดำเนินงานด้านอาหารปลอดภัยในปี 2554 ที่ผ่านมา โดยมีเนื้อหาประกอบด้วย
- วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาด้านอาหารปลอดภัย ได้แก่
ผลการสุ่มตรวจตัวอย่างอาหารที่พบมีปัญหา สถานประกอบกิจการด้านอาหาร เช่น ทั้งผู้ผลิต ตลาด ร้านอาหาร และอื่น ๆ
- วิเคราะห์อุบัติการณ์จากการเกิดโรคอาหารเป็นพิษ
- สรุปข้อเสนอ เพื่อนำไปสู่การแก้ไขปัญหาในปี 2555


î แผนบูรณาการของอำเภอ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ซึ่งจะต้องประกอบด้วย                                             1)  แผนการเฝ้าระวังอาหารปลอดภัยเพื่อคุ้มครองสุขภาพผู้บริโภคและลดอุบัติการณ์โรคอาหารเป็นพิษและแผนการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหาร แผนการตรวจแนะนำด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำในแหล่งจำหน่ายและบริการอาหาร ได้แก่ ตลาด ร้านอาหาร โรงอาหารในโรงเรียน สถานศึกษา และแหล่งชุมชุมชน เป็นต้น                                                                                   2) แผนการจัดการอุบัติการณ์ด้านความปลอดภัยอาหารและอุบัติการณ์โรคอาหารเป็นพิษ และ                         
3) แผนด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ โดยจัดทำเป็น Road Map เชื่อมโยง / บูรณาการแผนงาน/โครงการระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ /เป้าหมาย/ตัวชี้วัด/กิจกรรม/ ระยะเวลา/ผู้รับผิดชอบและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

2
ขั้นตอนที่ 2
อำเภอดำเนินกิจกรรมตามแผนบูรณาการของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.. 2555

ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่างๆ
@ เอกสารหลักฐานที่แสดงถึงการดำเนินงาน/การปฏิบัติตามมาตรการ/แผนบูรณาการดังกล่าวได้แล้วเสร็จครบถ้วน  โดยพิจารณาจาก
î รายงานผลการดำเนินงานที่แสดงความก้าวหน้าของการดำเนินงานตามแผน
î ปฏิทินการดำเนินงาน(Gantt Chart) ที่แสดงถึงความ ก้าวหน้าของงานเทียบกับเวลาที่กำหนดตามแผน
@ เอกสาร หลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าการดำเนินการของกิจกรรมดังกล่าวได้บรรลุผลตามข้อมูลที่แจ้งมาจริงหรือเป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในแผนฯ เช่น
-    ภาพถ่าย รายงานการประชุม
-    บันทึกผลการดำเนินงานเกี่ยวกับกิจกรรมตามแผน
-    เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการดำเนินงานของกิจกรรม

3
ขั้นตอนที่ 3
มีระบบเฝ้าระวังและมาตรการแก้ไขปัญหากรณีตรวจพบความไม่ปลอดภัยในอาหาร

ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่างๆ
@ เอกสาร/หลักฐานที่แสดงถึงการดำเนินงาน ดังนี้
î เอกสารแสดงกลไกและขั้นตอนการบริหารจัดการการเฝ้าระวังและมาตรการการแก้ไขปัญหา กรณีตรวจพบความไม่ปลอดภัยอาหาร

4
ขั้นตอนที่ 4
มีจุดประสานงานและเครือข่ายการจัดการกรณีเกิดอุบัติการด้านความปลอดภัยอาหารแบบบูรณาการในระดับอำเภอ
ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่างๆ
@ เอกสาร/หลักฐานที่แสดงถึงการดำเนินงาน ดังนี้
î มีคณะกรรมการและจุดประสานงานเพื่อเตรียมความพร้อมและตอบโต้เมื่อเกิดอุบัติการณ์ด้านความปลอดภัยอาหารและโรคติดต่อทางด้านอาหารและน้ำ
î มีแผนการจัดการด้านความปลอดภัยอาหารแบบบูรณาการในระดับอำเภอ (Road Map)

5
ขั้นตอนที่ 5
มีผลการดำเนินงานตามแผนบูรณาการ อาหารปลอดภัย เพื่อคุ้มครองสุขภาพและลดอุบัติการณ์อาหารเป็นพิษ
ประเมินผลจากข้อมูล เอกสาร หลักฐานต่างๆ
@ เอกสาร/หลักฐานที่แสดงถึงการดำเนินงานตามแผนบูรณาการ ดังนี้
(1)       ผลการเฝ้าระวังและมาตรการแก้ไขปัญหากรณีตรวจพบความไม่ปลอดภัยในอาหาร
î รายงานสรุปผลการตรวจสอบตัวอย่างอาหาร ตามแผนการตรวจสอบเฝ้าระวังอาหารปลอดภัย เพื่อคุ้มครองผู้บริโภค ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของแผน
î เอกสาร/หลักฐานที่แสดง จำนวนตัวอย่างที่เก็บ/จำนวนตัวอย่างที่ไม่ปลอดภัย/แหล่งที่มาของตัวอย่างที่ไม่ปลอดภัย/ร้อยละของตัวอย่างที่ผ่านเกณฑ์ความปลอดภัย
î รายงานการตรวจและแนะนำด้านสุขาภิบาลอาหารและน้ำ   ในสถานที่จำหน่ายและบริการอาหารตามแผนงานที่กำหนด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
(2)       สรุปรายงานผลการจัดการด้านความปลอดภัยอาหารและอุบัติการณ์โรคอาหารเป็นพิษแบบบูรณาการ ในระดับอำเภอรอบ 6 เดือน 9 เดือน และ 12 เดือน  โดยระบุถึงปัญหา/สาเหตุ/แหล่งที่มาของอาหารที่เป็นปัญหา รวมทั้งมาตรการการแก้ไขและป้องกันการเกิดซ้ำ


         การนำระบบการจัดการคุณภาพ KPI มาใช้ในการพัฒนาระบบเฝ้าระวังและควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

จัดทำขึ้นเพื่อวัดระดับความสำเร็จของการดำเนินงานอาหารปลอดภัยเพื่อคุ้มครองสุขภาพ             
ซึ่งดำเนินงานโดยโรงพยาบาลขอนแก่น  โรงพยาบาลอำเภอ  และสาธารณสุขอำเภอทุกแห่ง
โดยมีการรายงานผลทุก รอบ 6 เดือน ,9 เดือน, 12 เดือน                               
 กลุ่มเป้าหมายคือ
- ตลาดสดประเภท ๑  
- ร้านอาหารแผงลอย และแผงจำหน่ายอาหาร
- อาหารสดและผลิตภัณฑ์อาหาร 
วิธีการในการประเมิน
ขั้นตอนที่ 1
1.1   คณะกรรมการอาหารปลอดภัยระดับอำเภอประชุมพิจารณาผลการดำเนินงาน / ปัญหาที่เกี่ยวกับอาหารปลอดภัย รวมทั้งอุบัติการณ์จากการเกิดโรคอาหารเป็นพิษของอำเภอในช่วงที่ผ่านมา
1.2   อำเภอจัดทำแผนบูรณาการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 เพื่อเฝ้าระวัง /ป้องกัน / แก้ไขปัญหา / ตอบสนอง และลดอุบัติการณ์การเกิดโรคอาหารเป็นพิษ
1.3   แผนงานและโครงการเชิงพัฒนาด้านอาหารปลอดของอำเภอ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ได้รับความเห็นชอบจากนายอำเภอหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย และจัดส่งให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น ภายในวันที่ 31 มีนาคม 255
ขั้นตอนที่ 2
อำเภอดำเนินกิจกรรมตามแผนบูรณาการของจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.. 2555
ขั้นตอนที่ 3
มีระบบเฝ้าระวังและมาตรการแก้ไขปัญหากรณีตรวจพบความไม่ปลอดภัยในอาหาร
ขั้นตอนที่ 4
มีจุดประสานงานและเครือข่ายการจัดการกรณีเกิดอุบัติการด้านความปลอดภัยอาหารแบบบูรณาการในระดับอำเภอ
ขั้นตอนที่ 5
มีผลการดำเนินงานตามแผนบูรณาการ อาหารปลอดภัย เพื่อคุ้มครองสุขภาพและลดอุบัติการณ์อาหารเป็นพิษ

                 ขั้นตอนการทำงานการจัดการคุณภาพ KPI ของโรงพยาบาลขอนแก่นในครั้งนี้ เป็นตัวช่วยในการดูแลสุขภาพของประชาชน จุดมุ่งหมายเพื่อสุขอนามัยของประชาชนในจังหวัดขอนแก่นหรือประชาชนทุกท่านที่เดินทางเข้ามาใช้บริการตลาด ร้านอาหาร แผงลอยต่างๆที่บริการอาหารและเครื่องดื่มให้แก่ประชาชนได้บริโภคอาหารและเครื่องดื่มที่ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ เนื่องจากปัจจุบันตลาด แผงลอย รวมถึงร้านอาหารหลายๆแห่งมีการจำหน่ายอาหารที่ไม่ปลอดภัย ไม่ถูกสุขลักษณะ ซึ่งมีผลต่อสุขภาพของผู้ที่มาบริโภคอาหาร